บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมโรงงาน สร้างบ้านใหม่ หรือ ต่อเติมบ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมโรงงาน … Read More

ระดับของหัวเสาเข็ม ที่ควรใช้เพื่อจะทำการตรวจสอบระยะการหนีศูนย์ หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า PILE DEVIATE by ภูมิสยาม… ภูมิความรู้

ระดับของหัวเสาเข็ม ที่ควรใช้เพื่อจะทำการตรวจสอบระยะการหนีศูนย์ หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า PILE DEVIATE by ภูมิสยาม เสาเข็มไมโครไพล์ (สปันไมโครไพล์) วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง BORING LOG กันสัก 1 อาทิตย์นะครับเพราะว่าผมเพิ่งไปประสบพบเจอเข้ากับเหตุการณ์ๆ หนึ่งโดยบังเอิญและคิดว่าน่าจะยังมีเพื่อนๆ อีกหลายๆ คนที่อาจยังไม่ทราบข้อเท็จจริงประการนี้ จึงตัดสินใจที่จะนำเอาประเด็นๆ นี้มาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ … Read More

วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More

การออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในช่วงสองวันที่ผ่านมานั้นผมไม่ได้มาพบปะพูดคุยกับเพื่อนๆ เหมือนเช่นเคยเพราะผมติดภารกิจงาน “ช่วย” คือ ผมต้องไปช่วยงานแก้ไขงานออกแบบอยู่งานหนึ่ง ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง ผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงขออนุญาตนำมาเล่าสู่กันฟังนะครับ เรื่องๆ นี้คือ น้องท่านนี้พบปัญหาในการออกแบบโครงสร้าง “เสาเหล็กรับแรงดึง” งงมั้ยครับ ? ผมไม่ได้พิมพ์ผิดนะครับ เพราะเสาต้นนี้รับแรงดึงจริงๆ เพื่อนๆ หลายๆ … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 207