บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาเชาว์-puzzle-2017-12-09

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.Micropile ยังคงมีปัญหาเชาว์ มาฝากแฟนเพจได้ลับสมองขบคิดกันเช่นเคย สำหรับเฉลย อยู่ด้านล่างนะครับ BSP-Bhumisiam ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile 1) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, 25, … Read More

รถไฟฟ้าสายสีเขียว วางใจเสาเข็ม Bhumisiam ภูมิสยาม

รถไฟฟ้าสายสีเขียว วางใจเสาเข็ม Bhumisiam ภูมิสยาม นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 5 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับผู้บริหารและทีมวิศวกรจากบริษัทชั้นนำในวงการก่อสร้าง ได้แก่ อิตาเลี่ยนไทย ปูนซิเมนต์ไทย (เอสซีจี ) … Read More

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ

ต่อเติมโรงงานอมตะนคร ชลบุรี – สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ   สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมโรงงาน สร้างบ้านใหม่ หรือ ต่อเติมบ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมโรงงาน … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   หลังจากที่ผมได้พูดถึงและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยว่าวันนี้ผมก็จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงและอธิบายต่อถึงวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อให้จบในส่วนเนื้อหาการโพสต์ส่วนนี้นะครับ ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังจำกันได้ ผมเคยได้อธิบายไปเมื่อสองสัปดาห์ก่อนแล้วว่าเราอาจจะเรียกค่าของการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยวว่าเป็น “การทรุดตัวในตอนเริ่มแรก” หรือ “INITIAL SETTLEMENT” หรือก็มีอีกชื่อหนึ่งซึ่งเรานิยมเรียกกันนั่นก็คือ … Read More

1 173 174 175 176 177 178 179 207