ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการคั่นเนื้อหาเรื่องการทดสอบชั้นดินเพื่อที่จะพูดถึงประเด็นเรื่องราวอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเพื่อเป็นวิทยาทานแก่เพื่อนๆ กันไปมากพอสมควรแล้ว วันนี้ผมคิดว่าเราน่าจะกลับมาพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องหลักของเรากันต่อจะดีกว่า ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาพูดถึงเรื่อง ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน นะครับ ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดินนั้นสามารถที่จะทำการคัดแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ … Read More
MODULAR RATIO หรือค่า n
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมมีคำหนึ่งคำจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้เข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนหลายๆ ท่านคงจะรู้จักและอาจทราบความหมายและความสำคัญของคำๆ นี้กันดีอยู่แล้วครับ คำๆ นี้คือ MODULAR RATIO หรือค่า n นั่นเองครับ เราจะพบค่าๆ นี้ในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาทางด้านงานกลศาสตร์และการออกแบบ เช่น กลศาสตร์ของวัสดุ การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบโครงสร้างเหล็ก … Read More
ปัญหาเชาว์ Quiz-2018-10-31
ภูมิสยามฯ Bhumisiam Spun Micro Pile ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สวัสดีครับทุกท่าน ชาว Facebook แฟนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ ทุกท่าน เช่นเคยกลับมาเจอกันอีกครั้ง วันนี้ Mr.Micropile(มิสเตอร์ไมโครไพล์) มีปัญหาเชาว์ หวังว่าคงไม่ยากเกินไปครับ มาฝากทุกท่านด้วย ว่า … Read More
ผลจากการกำหนดให้ใช้ความยาว ของโครงสร้างเสาเข็มที่ไม่เท่ากัน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนนั้นผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งก็พบว่าได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ แฟนเพจไม่น้อยเลยทีเดียวและใต้โพสต์ในวันเดียวกันนั้นก็มีรุ่นน้องวิศวกรของผมเองได้คอมเม้นต์สอบถามมาโดยที่มีใจความของคำถามว่า “สำหรับกรณีของการใช้โครงสร้างเสาเข็มเล็กในฐานรากที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มใหญ่จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรดีครับ เช่น กรณีที่โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 7 ต้น จะต้องทำการคำนวณหาน้ำหนักบรรทุกที่จะถ่ายลงมาที่โครงสร้างเสาเข็มต่อต้นใหม่ทั้งหมดใช่หรือไม่ครับ … Read More