เทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล งานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)
หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) วันนี้ผมมีเทคนิคในการทำงานก่อสร้างงานโครงสร้างชิ้นส่วน คสล สำเร็จรูปเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ถือได้ว่าความสำคัญของเทคนิคนี้มีอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียวมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ นั่นก็คือผมจะมาให้คำแนะนำว่าเราไม่ควรที่จะใช้โครงสร้าง คสล ในกรณีที่ทางสถาปนิกเลือกทำการออกแบบให้ในตัวบ้านหรืออาคารนั้นมีการตกแต่งด้วยปูนปั้น โดยเฉพาะยิ่งปูนปั้นขนาดใหญ่ๆ ด้วยแล้วยิ่งไม่ควรใช้งาน คสล … Read More
ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์ — ข่าวไทยโพสต์
ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์ นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็ม เป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์ มูลค่ารวมกว่า 660,000 บาท เพื่อมีส่วนในการร่วมสร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต และถือเป็นกิจกรรมตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง ณ วัดประสิทธิเวช ต.บางปลากด … Read More
เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ?
เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? หินชนิดนี้มีชื่อว่า “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกว่า BALLAST STONE นั่นเองนะครับ หินชนิดนี้จะทำหน้าที่ยึดไม้หมอนที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำจากวัสดุที่เป็นเหล็กให้อยู่ในสภาพคงที่โดยให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่ง (DISPLACEMENT) ที่น้อยที่สุด … Read More
ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) by ภูมิสยามฯ ภูมิความรู้
ทำไมเสาเข็มถึงต้องเกี่ยวข้องกับความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) by ภูมิสยามฯ ภูมิความรู้ ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ … Read More