บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

โครงสร้างภายในของเสาเข็ม

โครงสร้างภายในของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) ลักษณะของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม Spun Micro Pile มีลักษณะกลม กลวงจึงช่วยลดการสั่นสะเทือนเวลาตอก ถึงแม้ว่าจะตอกเสาเข็มใช้ความยาวมาก ก็สามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้ โดยดินจะขึ้นทางรูกลวงของเสาเข็ม ซึ่งจะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่อโครงสร้าง หรืออาคารข้างเคียงได้เป็นอย่างมาก ซึ่งเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของ บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด นั้นจะมีโครงสร้างภายในเหล็กปลอกรัดหัวเสาเข็มหัวท้ายเหล็ก … Read More

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE)

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE) โดยที่ในวันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงปัญหาพื้นฐานของบ้านที่เรามักจะพบเจออยู่เป็นประจำเลยนะครับ นั่นก็คือ โคนผนัง หรือ ส่วนโคนเสาโครงสร้าง มีความเปียกชื้นอยู่ตลอดเวลา นั่นเองนะครับ ในบางครั้งเมื่อเราต้องประสบพบเจอกับปัญหาแบบนี้ มันก็อาจที่จะลุกลามใหญ่โตไปจนถึงขั้นที่สีนั้นลอก หรือ เกิดเชื้อราขึ้นในบริเวณๆ นี้ก็ได้นะครับ โดยมากแล้วปัญหาแบบนี้จะเกิดขึ้นที่ความสูงประมาณ … Read More

จะต่อเติมบ้าน หรือสร้างอาคารใหม่ แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ

จะต่อเติมบ้าน หรือสร้างอาคารใหม่ แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด … Read More

โครงสร้างพื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่โพสต์ในวันนี้ของผมๆ จำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการคั่นการกล่าวถึงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างพื้น ต่อเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยเนื้อหาในวันนี้สักหน่อยเพราะว่ามีประเด็นเรื่องความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนออกไปของเพื่อนสมาชิกแฟนเพจบางท่านเกี่ยวกับหัวข้อๆ หนึ่งที่ผมเคยได้โพสต์อธิบายไปก่อนหน้านี้ ซึ่งผมก็ต้องขอกล่าวย้อนไปถึงโพสต์ก่อนหน้านี้เมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมาซึ่งก็คือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ที่ผมได้โพสต์รูปเสาเหล็กพร้อมกับเหล็กแผ่นพร้อมกับเนื้อความในโพสต์ว่า   โครงสร้างเสาเหล็กในรูปที่แสดงนั้นได้ถูกทำการยึดและติดตั้งลงไปบนเหล็กแผ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเราจะสามารถเห็นว่ามีช่องว่างเหลืออยู่ได้ด้วยตาเปล่าเลยซึ่ง “ตามปกติ” แล้วในแบบวิศวกรรมโครงสร้างจะมีการระบุให้ทำการเติมช่องว่างเหล่านี้ให้เต็มโดยใช้วัสดุจำพวก … Read More

1 197 198 199 200 201 202 203 207