โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More
วิธีและขั้นตอนของการทดสอบการรั่วซึมของน้ำที่บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เวลาที่เราทำการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในกรณีที่ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณทั่วๆ ไปของอาคาร เราจะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ ขึ้นเสมอและเมื่อวันเวลาผ่านไป รอยร้าวเหล่านั้นจะไม่เกิดการพัฒนาตัวเองจนเป็นรอยร้าวที่มีขนาดใหญ่โตมากยิ่งขึ้นซึ่งก็ถือได้ว่ากรณีนี้เป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้วนะครับ หากพูดถึงกรณีของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ๆ ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณที่เป็นชั้นดาดฟ้าหรือบริเวณพื้นที่แบบเปิด ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ๆ ต้องสัมผัสกับแสงแดดและอากาศภายนอกอยู่ตลอดอายุการใช้งานของมัน เราก็จะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ เหมือนกันกับกรณีแรกแต่เมื่อวันเวลาผ่านไป … Read More
ปัญหาการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังของเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีเสาเข็มไมโครไพล์อยู่หนึ่งต้นที่ได้ทำการตอกลงไปในดินเป็นที่เรียบร้อยแล้วและผลจากการคำนวณก็พบว่าเสาเข็มต้นนี้จะมีคุณสมบัติต่างๆ ดังต่อไปนี้ มีกำลังรับแรงใช้งานในแนวดิ่งเนื่องจากแรงฝืดของดินเท่ากับ 25 … Read More
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตัวอย่าง พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง … Read More