การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อดูเป็นแนวทางกันนะครับ โดยวิธีการที่ผมนำมายก ตย จะอยู่ในหัวข้อที่ (3) ในโพสต์เมื่อวานนะครับ ก็คือเราใช้วิธีการโมเมนต์ความเฉือยเทียบเท่า หรือ EQUIVALENT MOMENT OF INERTIA … Read More
วิธีในการคำนวณหาค่าของEcและEce
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากโครงสร้างๆ หนึ่งของผมต้องทำหน้าที่ในการรับกำลังอัดแบบเพิ่มค่าที่มีอัตราการคงค้างของน้ำหนักบรรทุกที่สูงมากๆ เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะต่อเนื่องและยาวนาน หากผมทราบได้จากการนำเอาตัวอย่างของคอนกรีตชุดนี้ไปทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ผมก็จะพบว่าโครงสร้างๆ นี้จะมีค่ากำลัดอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ … Read More
BRACING
วิศวกรออกแบบหลายๆ ท่านมักจะลืมเวลาที่ทำการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก นั่นก็คือเรื่อง BRACING นั่นเองครับ หากพิจารณาถึงเนื้อที่หน้าตัดของโครงสร้างที่มีขนาดเท่าๆ กันระหว่างวัสดุ คอนกรีต และ เหล็ก จะพบว่าวัสดุคอนกรีตนั้นจะมีความแข็งแรงที่น้อยกว่าโครงสร้างเหล็กอยู่ประมาณ 10 เท่านะครับ ดังนั้นหากเราทำการออกแบบโครงสร้างด้วยวัสดุที่เป็นเหล็ก เราจะพบว่าชิ้นส่วนของโครงสร้างที่ใช้ในองค์อาคารของเราจะมีขนาดที่ค่อนข้างเล็ก ทำให้โครงสร้างเหล็กนั้นจะมีสัดส่วนที่ค่อนข้างจะมีความชะลูดที่มากกว่าโครงสร้างคอนกรีต ทำให้หากเราเลือกใช้วัสดุของโครงสร้างที่ทำจากเหล็ก ก็จะทำให้ตัวโครงสร้างที่ทำจากเหล็กนั้นมีโอกาสที่จะวิบัติเนื่องจากการที่ตัวโครงสร้างนั้นเกิดการสูญเสียเสถียรภาพที่สูงกว่าการที่เราเลือกใช้วัสดุที่เป็นคอนกรีตนะครับ … Read More