ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วิธีการตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างเสาเข็ม และวิธีในการกองเก็บที่ถูกต้องที่เหมาะสม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักท่านหนึ่งได้ไปทำงานการตอกเสาเข็ม คอร ชนิดทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและไปพบเจอเข้ากับความเสียหายของเสาเข็มก่อนที่จะนำมาใช้ในการตอกจริง พี่ท่านนี้จึงได้ทำการ REJECT เสาเข็มชุดนั้นไปหลายต้นเลย วันนี้ผมจึงได้ขออนุญาตรุ่นพี่ท่านนี้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของความเสียหายของเสาเข็มที่เราอาจจะพบเจอได้ที่หน้างานมาฝากเพื่อนๆ … Read More
สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคารเดิม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ได้ไหมครับ
สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคารเดิม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ได้ไหมครับ ได้แน่นอนครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ตอกแล้ว แรงสั่นสะเทือนน้อยกว่าเสาเข็มทั่วไป หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และทำงานได้รวดเร็วครับ สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 … Read More
เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินจะขอมาตอบคำถามเพื่อนวิศวกรออกแบบที่ถามผ่านทางอินบ็อกซ์ในเฟซบุ้คส่วนตัวของแอดมินว่า “ในกรณีที่เราทำการออกแบบคาน คสล เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไปและจะตัดสินใจทำการการรวบเหล็ก (BUNDLED BARS) ในการออกแบบเหล็กเสริมชนิดนี้ เราควรตรวจสอบข้อกำหนดใดบ้าง ?” แอดมินขออนุญาตตอบโดยอิงไปที่เอกสารการสอนโครงสร้าง คสล ที่เขียนโดยท่าน อ ดร มงคล จิรวัชรเดช นะครับ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้เพื่อนๆ … Read More
วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ นะครับ โดยที่ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยนะครับ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D … Read More