บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาเหตุผลหนึ่งของการอาศัยวิธีการจำลองให้โครงสร้างเสาเข็มโดยอาศัยหลักการของ SOIL SPRING นั่นก็คือ ทฤษฎีของคานที่วางอยู่บนฐานรากที่มีความยืดหยุ่น หรือ ในภาษาอังกฤษจะมีชื่อเรียกว่า THEORY OF … Read More

ต้องการต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ตอบโจทย์ สามารถตอกในที่แคบได้

ต้องการต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ตอบโจทย์ สามารถตอกในที่แคบได้ หากต้องการต่อเติมบ้าน แต่มีพื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ต่อเติมบ้านใช้พื้นที่น้อย สามารถตอกในพื้นที่แคบ และสามารถตอกชิดกำแพงบ้าน หรืออาคารเดิมได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะมีแรงสั่นสะเทือนน้อย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro … Read More

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สามารถนำมาเชื่อมต่อกันได้

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สามารถนำมาเชื่อมต่อกันได้ เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สามารถนำมาเชื่อมต่อกันได้ หลายท่อนจนถึงชั้นดินดาน เช่น 18-21 เมตรในพื้นที่กรุงเทพ การเชื่อมต่อใช้วิธีการเชื่อมระหว่างเหล็กปลอกรัดเสาเข็ม เสาเข็มแต่ละต้น สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน โดยขึ้นกับสถาพชั้นดิน และ ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test – … Read More

การตรวจสอบค่าการเสียรูปของโครงสร้างโดยใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 207