ความรู้และความเข้าใจกับเรื่องการใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

ความรู้และความเข้าใจกับเรื่องการใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ก่อนการใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ใดๆ เราควรที่จะมีความรู้พื้นฐานถึงทฤษฎี FINITE ELEMENT ให้ดีในระดับหนึ่งเสียก่อน เพราะหากเราใช้งานโปรแกรมเหล่านี้โดยที่ไม่เข้าใจถึงมันแล้ว เราเองก็อาจจะใช้งานมันโดยขาดความถูกต้องไปได้นะครับ สำหรับความรู้ในเบื้องต้นเมื่อเพื่อนๆ จำเป็นที่จะต้องมีเกี่ยวกับโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT อาจจะประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลักๆ … Read More

ข้อพิจารณาการวิบัติของโครงข้อหมุนที่อาจเกิดจากการโก่งเดาะนอกระนาบ

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม ก็มาพร้อมกับความรู้ดีดี เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคย สำหรับวันนี้ จะเป็นเรื่อง ข้อพิจารณาการวิบัติของโครงข้อหมุนที่อาจเกิดจากการโก่งเดาะนอกระนาบ ข้อพิจารณาการวิบัติของโครงข้อหมุนที่อาจเกิดจากการโก่งเดาะนอกระนาบ ซึ่งในระยะหลังจะพบว่าผู้ออกแบบมีความเข้าใจในเรื่องนี้น้อย และมักไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรเพื่อลดการวิบัติดังกล่าว ในระหว่างการคำนวณออกแบบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ truss ผู้ออกแบบจะให้ความใส่ใจในการเกิดการโก่งเดาะ โดยมีข้อกำหนดให้ใช้อัตราส่วนชะลูด (Kl/r) ไม่เกิน 120 … Read More

PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?

สวัสดีครับ สำหรับช่วง 4 โมง แบบนี้ ก็มาอยู่กับ Mr.เสาเข็มกันอีกเช่นเคยพร้อมกับสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้จะเป็นเรื่องของ PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร นะครับ ที่จริงแล้ว SURFACE ELEMENT ก็คือ … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)

เวลา 4 โมงเย็นแบบนี้ ได้เวลาที่ Mr.เสาเข็ม จะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้างให้กันนะครับ วันนี้จะมาแชร์เรื่องระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)    สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้มาแชร์กันเรื่องระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) โดยการที่ผมจะมายก ตัวอย่าง ประเภทของฐานราก ระบบต่างๆ ให้ได้ทราบกันนะ … Read More

เทคนิคในการตรวจสอบงาน คสล ที่หน้างานที่ควรระมัดระวังเป็นพิเศษเวลาทำการตรวจเช็คสภาพหน้างาน

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะนำเทคนิคในการตรวจสอบงาน คสล ที่หน้างานที่ควรระมัดระวังเป็นพิเศษเวลาทำการตรวจเช็คสภาพหน้างาน ซึ่งก็คือ ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมที่เหมาะสม นั่นเอง หากจะพูดถึงเรื่อง ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมที่น้อยที่สุด ที่สามารถมีได้ คือ ระยะน้อยที่สุดระหว่าง (1.) ขนาดโตสุดของมวลรวมที่ใช้ในการผสมคอนกรีต (2.) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมที่ใช้ (3.) ระยะ … Read More

TRANSPORTATION ENGINEERING – ANTI SKID SURFACE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง TRANSPORTATION ENGINEERING กันบ้างนะครับ นั่นก็คือเรื่องวัสดุปิดผิวที่จะต้องถือว่าเป็นวัสดุปิดผิวที่ใช้ในงานปิดผิวของงานทางประเภทหนึ่งนะครับ นั่นก็คือ ANTI SKID SURFACE นั่นเองครับ เพื่อนๆ อาจเคยมีโอกาสเดินทางไปสนามบินสุวรรณภูมิจากถนนเส้นมอเตอร์เวย์ และ บนถนนเพื่อนๆ อาจจะเห็นเจ้าสาร ANTI SKID SURFACE … Read More

QC เพื่อคอยทำการตรวจรับเสาเข็ม มาส่ง ณ หน้างาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากวันนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน และ ได้ให้คำแนะนำแก่ ผรม เรื่องที่หน้างานจำเป็นจะต้องมี QC เพื่อคอยทำการตรวจรับเมื่อเสาเข็มเมื่อโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างาน ผมคิดว่าน่าจะมีประโยชน์จึงคิดว่านำมาฝากเพื่อนๆ ด้วยก็น่าจะเป็นการดีนะครับ สิ่งที่ QC ควรต้องทำการตรวจสอบเมื่อทางโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างานควรประกอบด้วยรายการพิจารณาต่อไปนี้นะครับ … Read More

การทดสอบ ตย ดินเพื่อนำผลคุณสมบัติของดินนี้มาออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากและเสาเข็มของโครงการ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากช่วงนี้มีงานขึ้นใหม่หลายตัว จำเป็นจะต้องมีการทดสอบ ตย ดินเพื่อนำผลคุณสมบัติของดินนี้มาออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากและเสาเข็มของโครงการ ประกอบกับการที่ผมมักจะสังเกตเห็นว่ามีเพื่อนหลายๆ คนอาจจะยังไม่ทราบว่าวิธีในการทดสอบตัวอย่างดินนั้นทำได้กี่วิธีกันแน่ ? วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เรื่องวิธีในการเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำไปทดสอบในห้องปฎิบัติการให้แก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันนะครับ เนื่องจากลักษณะและคุณสมบัติของดิน มีความสำคัญต่อการออกแบบฐานรากของโครงสร้าง โดยเฉพาะคุณสมบัติด้านกำลังความแข็งแรงของดิน ในการเจาะเก็บตัวอย่างดินจะต้องทำด้วยความระมัดระวังเพื่อให้เกิดผลกระทบกระเทือนน้อยที่สุด เพราะดินบางชนิดมีความไวตัว (SENSITIVITY) สูงเมื่อถูกแรงกระทำอาจทำให้โครงสร้างของดินนั้นเปลี่ยนแปลงไป ผลที่ได้จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการก็จะผิดไปจากความเป็นจริง ดังนั้นจึงควรเลือกวิธีการเจาะสำรวจชั้นดินที่เหมาะสมกับงานก่อสร้าง … Read More

วิธีในการเจาะสำรวจดินหลักๆ อีก 2 วิธี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาอธิบายวิธีในการเจาะสำรวจดินหลักๆ อีก 2 วิธีแก่เพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ของเมื่อวานนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในโพสต์เมื่อวานแล้วว่า เนื่องจากลักษณะและคุณสมบัติของดิน มีความสำคัญต่อการออกแบบฐานรากของโครงสร้าง โดยเฉพาะคุณสมบัติด้านกำลังความแข็งแรงของดิน ในการเจาะเก็บตัวอย่างดินจะต้องทำด้วยความระมัดระวังเพื่อให้เกิดผลกระทบกระเทือนน้อยที่สุด เพราะดินบางชนิดมีความไวตัว (SENSITIVITY) สูงเมื่อถูกแรงกระทำอาจทำให้โครงสร้างของดินนั้นเปลี่ยนแปลงไป ผลที่ได้จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการก็จะผิดไปจากความเป็นจริง ดังนั้นจึงควรเลือกวิธีการเจาะสำรวจชั้นดินที่เหมาะสมกับงานก่อสร้าง ซึ่งขั้นตอนและขบวนการเจาะสำรวจชั้นดินในแต่ละหลุม อาจใช้วิธีการเจาะสำรวจมากกว่าหนึ่งวิธี โดยวิธีในการเจาะสำรวจดินหลักๆ … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

1 3 4 5 6 7