วิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่ และเก่าโดยไม่ใช้โฟม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยโพสต์เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาการทำงานในขั้นตอนของการกั้นระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างใหม่และเก่าโดยไม่ใช้โฟม แต่ ผมได้แนะนำให้เพื่อนๆ นั้นใช้เป็นวัสดุอื่นๆ แทน เช่น แผ่นสมาร์ทบอร์ด แผ่นไม้อัด เป็นต้น วันนี้ผมจึงได้นำรูปภาพจริงๆ จากการแก้ไขงานตรงนี้ของทาง … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ๊อกซ์เข้ามาปรึกษากับผมว่า มีปัญหากับการที่ทาง ผรม นั้นทำงานได้คุณภาพที่ถือว่าแย่มากๆ และพอผมได้ดูรูปที่ได้ส่งมาให้ดูผมถึงกับตะลึงไปเลย ซึ่งหากเพื่อนๆ ได้ดูรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ก็จะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ เกิดขึ้นจากการที่ทาง ผรม นั้นขาดการตรวจสอบพิกัดของเสาตอม่อให้ดีและถูกต้องเพียงพอในขณะที่ทำงาน การกำหนดพิกัดและการตอกเสาเข็ม หรือ การก่อสร้างงานฐานราก … Read More

กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตทำการแทรกเนื้อหานอกเรื่องจากเรื่องราวหลักๆ ที่เคยโพสต์อยู่กันสักหนึ่งโพสต์ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้ให้คำแนะนำและอธิบายถึงอุปกรณ์และเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ถือได้ว่ามีประโยชน์มากๆ เมื่อเพื่อนๆ นั้นได้ดำเนินการทำการทดสอบดิน นั่นก็คือ กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ นั่นเองนะครับ   จากรูปที่เห็นจะเป็น กระบอกแก้วที่แสดงข้อมูลของชั้นดินที่ได้จากการเจาะทดสอบ … Read More

โครงสร้างเสา คสล นั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากเหล็กเสริมหลักในเสาเป็นสนิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตโพสต์ประสบการณ์ตรง ซึ่งผมได้พบจากการทำงานจริงๆ เหตุการณ์หนึ่ง นั่นก็คือ การที่ผมได้มีโอกาสไปพบเจอเหตุโครงสร้างเสา คสล นั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากเหล็กเสริมหลักในเสานั้นเป็นสนิม นะครับ จริงๆ แล้วหากจะถามว่าผมมีโอกาสได้พบเจอกับเหตุการณ์ในทำนองนี้มาแล้วหลายครั้งแล้วหรือไม่ ก็ต้องตอบเลยนะครับว่า บ่อยมากๆ นะครับ แต่ … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ จากรูปแสดงลักษณะของชั้นดินที่ได้จากการทำการทดสอบคุณสมบัติของดินในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง หากเราทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบ และ จะทำการกำหนดว่าระบบฐานรากในการก่อสร้างอาคารหลังนี้จะใช้เป็นระบบ เสาเข็มยาว และ เราจะทำการเลือกวางปลายเสาเข็มให้อยู่ที่ระดับความลึกเท่ากับ 24 เมตร คำถามก็คือ ในการออกแบบแรงกระทำจากแผ่นดินไหว … Read More

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง … Read More

แขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 21 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้ คานตัวใดที่ไม่มีเสถียรภาพ ? ผมเชื่อว่าหลายๆ … Read More

วิธีวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว ที่มีความเหมาะสมต่อการวิเคราะห์โครงสร้าง เพื่อต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหวแบบใดที่จะมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างของเราเพื่อที่จะให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้นะครับ   ก่อนอื่นผมขอทวนเนื้อหาก่อนสักเล็กน้อยเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการวิเคราะห์แรงกระทำจากแผ่นดินไหว ว่าเราจะสามารถทำการแบ่งออกได้เป็น 4 วิธีการหลักๆ ด้วยกันนั่นก็คือ   LINEAR-STATIC ANALYSIS หรือ ชื่อที่ พวกเราคุ้นเคยกันดีนั่นก็คือ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับ ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ หรือ WELDING DEFECT กันต่อจากโพสต์ในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ผมจะขออนุญาตมากล่าวถึง ลักษณะ และ สาเหตุ ของการเกิดร่องรอยการแตกร้าวประเภทต่างๆ ให้เพื่อนๆ … Read More

วิธีในการเลือกใช้งาน เสาเข็มแต่ละประเภท เพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีความน่าสนใจประการหนึ่งนั่นก็คือ ผู้ออกแบบมีวิธีอย่างไรในการเลือกใช้งานเสาเข็มแต่ละประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความเชื่อว่า ในการเลือกชนิดหน้าตัดของเสาเข็มนั้นผู้ออกแบบจะทำการเลือกหน้าตัดของเสาเข็มให้เป็นหน้าตัดชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งก็ได้ ซึ่งถือว่าความคิดนี้ไม่ถูกต้องนัก เพราะ หากเพื่อนๆ ลองคิดตามหลักการทางด้านวิศวกรรมและหลักทางด้านความเป็นจริงดูก็จะพบว่า … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 33