ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้อธิบายเกี่ยวกับเรื่อง หากเราจะพูดในทำนองว่า “คุณแน่ใจ …… หรือไม่ ?” หรือ “คุณมั่นใจ …… … Read More

ระยะการค้ำยันทางด้านข้าง ในการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ไหนๆ สัปดาห์นี้ผมก็พูดถึงเรื่อง การออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงดัด แล้วก็ขอพูดถึงหัวข้อนี้ตลอดสัปดาห์เลยก็แล้วกันนะครับ สัปดาห์ต่อๆ ไปจะได้นำหัวข้ออื่นๆ มาพูดถึงบ้าง ดังนั้นในวันนี้เพื่อให้ต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวาน … Read More

เฉลยคำตอบข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 130

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 130 คานช่วงเดียวธรรมดายาว L รับน้ำหนักแบบจุด Pu ที่กึ่งกลางคาน ถ้าคานนี้ทำค้ำยันทางข้างที่ปีกรับแรงอัดที่ปลายทั้งสองและที่กึ่งกลางคาน จงใช้วิธี LRFD หาค่าสัมประสิทธิ์ของโมเมนต์ดัด … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากวันนี้ผมพอจะมีเวลาว่างเล็กน้อย เลยจะขออนุญาตมาตอบคำถามที่เพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้ฝากคำถามกับผมไว้มาสักพักใหญ่แล้วโดยมีใจความของคำถามว่า   “ เพราะเหตุใดเวลาทำงานพื้น คอร ชนิดดึงเหล็กทีหลัง (POST-TENSIONED SLAB) … Read More

สาเหตุของการที่แนวกำแพงรั้วนี้เกิดการ วิบัติ หรือ ล้มลง ไปในทิศทางดังกล่าวนั้น เกิดจากสาเหตุใดเป็นหลัก ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้จากในรูปว่ามีแนวกำแพงรั้วกั้นตลอดความยาวของที่ดิน และ เราจะพบเห็นได้อีกด้วยว่าแนวกำแพงรั้วดังกล่าวนั้นได้เกิดการ วิบัติ … Read More

ข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN ข้อที่ 338

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 338 ฐานรากแผ่ขนาด 1.80×1.80 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาด 0.30×0.30 เมตร ตรงกึ่งกลางฐานราก ซึ่งถ่ายแรงอัด P … Read More

การล้าตัวของวัสดุโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ   วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับศัพท์ทางด้านวิศวกรรมที่เพื่อนๆ น่าที่จะได้ยินอยู่บ่อยๆ จนคุ้นหูกันดีอยู่แล้ว แต่ ผมก็เชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าในทุกๆ ครั้งที่เพื่อนๆ นั้นนั่งอ่านแบบวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก จะต้องอ่านแบบ ที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ของจุดต่อของโครงสร้าง (STRUCTURAL … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ ตามปกติแล้วเมื่อเราทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีหน้าตัดนั้นเป็น ชิ้นส่วนแท่ง หรือว่า BAR … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายข้อสอบใบประกอบวิชาชีพที่ออกโดยสภาวิศวกรเรื่อง พฤติกรรมการรับแรงของโครงสร้างโครงถัก ว่าเราสามารถที่จะสังเกตดูว่า แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างโครงถักใดที่เป็น แรงดึง (TENSION FORCE) หรือ แรงอัด (COMPRESSIOB … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 33