“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม โดยที่รูปที่ผมได้ใช้ในการโพสต์นั้นเป็นรูปของโครงสร้างคาน คสล … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าต่างๆ และวิธีในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสาธิตขั้นตอนในการคำนวณหาว่า หากเรามีหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกโอบรัดด้วยเหล็กปลอกแล้ว เราจะมีวิธีในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างได้อย่างไรบ้าง ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลาผมจะทำการอธิบายขั้นตอนในการคำนวณผ่านตัวอย่างที่ผมได้ทำการกำหนดขึ้นมาก็แล้วกันนะครับ ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ขนาดความกวามกว้างระบุหรือ NOMINAL WIDTH … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับค่าๆ หนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเสา คสล เพื่อใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวนั่นก็คือ การออกแบบลักษณะของการโอบรัดทางด้านข้าง หรือ CONFINEMENT DESIGN ภายในหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล เพื่อที่จะทำการคำนวณหาว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการยกตัวอย่างการออกแบบโครงสร้างแป้นหูช้าง คสล หรือ RC CORBEL ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้ทำความเข้าใจถึงวิธีในการคำนวณออกแบบเหล็กเสริมเพื่อใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งผมก็จะขออ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” การคำนวณระยะของการฝังเหล็กเสริมในคอนกรีตเพื่อที่จะใช้ในการรับแรงดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อไม่นานมานี้มีเพื่อนนายช่างท่านหนึ่ง ซึ่งเพื่อนท่านนี้มีหน้าที่หลักคือ การควบคุมการทำงานก่อสร้างที่หน้างาน เค้าได้อินบ็อกซ์เข้ามาสอบถามกับผมในประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง ระยะยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมเมื่อต้องฝังตัวอยู่ในโครงสร้างคอนกรีต โดยที่ใจความของประเด็นสนทนานั้นอยู่ที่ เพื่อนของผมท่านนี้กำลังจะทำการใช้งานเหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ SD40 ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมเท่ากับ 20 มม … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินชนิดพิเศษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินชนิดพิเศษ กล่าวคือเราจะทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรามีความต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนบกเหมือนกันกับกรณีของงานก่อสร้างทั่วๆ ไปนั่นก็คือ งานประเมินกำลังของโครงสร้างประเภทที่เป็นท่าเทียบเรือน่ะครับ สาเหตุที่ผมเรียกการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ว่าเป็นการทดสอบชนิดพิเศษก็เพราะว่า เราไม่สามารถที่จะทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะเริ่มมาลงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของ รูปแบบของการวิบัติเนื่องด้วยแรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE ซึ่งก็จะทำให้โครงสร้างคาน คสล ของเราวิบัติได้เช่นเดียวกัน … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” โครงสร้างกันดินเสริมแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันลักษณะของโครงสร้างประเภทหนึ่งซึ่งจะทำหน้าที่เสมือนเป็นโครงสร้างกันดินเพียงแต่ความแตกต่างของโครงสร้างชนิดนี้ก็คือ จะเป็นการนำเอาทฤษฎีการออกแบบโครงสร้างฐานรากผนวกเข้ากับการออกแบบโครงสร้างกันดินมาใช้ในการทำงานออกแบบโครงสร้างชนิดนี้นั่นก็คือ โครงสร้างกันดินเสริมแรง หรือ REINFORCED EARTH STRUCTURE นั่นเองครับ ในการออกแบบลักษณะของโครงสร้างประเภทนี้เราจะใช้งานวัสดุดินซึ่งจะต้องได้รับการบดอัดก่อนและเนื่องจากว่าตัวดินเองนั้นมีความสามารถในการรับแรงดึงที่ต่ำมากๆ … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ตอบปัญหาการคำนวณค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ตามทฤษฎีของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับโดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างหนึ่ง ซึ่งที่ปลายด้านล่างนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดแน่นหรือ FIXED SUPPORT และที่ปลายด้านบนนั้นมีลักษณะของจุดต่อเป็นแบบยึดหมุนหรือ PINNED … Read More

1 2 3 4 5 33