วิธีการในการสังเกต ลักษณะของรูปแบบวัสดุคอนกรีต เมื่อเราทำการทดสอบ ค่าการยุบตัว ว่ามีรูปแบบใดบ้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงวิธีการในการสังเกตลักษณะของรูปแบบของวัสดุคอนกรีตเมื่อเราทำการทดสอบ ค่าการยุบตัว ด้วยนะครับ ว่าจะมีรูปแบบใดบ้าง และ แต่ละรูปแบบจะสามารถบ่งบอกคุณสมบัติที่สำคัญๆ ของคอนกรีตอะไรให้กับเราได้บ้างนะครับ ก่อนการเทคอนกรีตทุกๆ ครั้งเราควรต้องทำการตรวจสอบ ค่าการยุบตัว ของ ตย คอนกรีตเสียก่อน ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143 / C143M ซึ่งชื่อของมาตรฐานนี้ในภาษาอังกฤษ คือ … Read More

เพราะเหตุใดทางเพจถึงไม่สามารถที่จะแจ้งราคา หรือ ทำการติดต่อพูดคุยกันกับแฟนเพจได้โดยตรงในทันทีขณะนั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากว่าที่ผ่านมานั้นผมตั้งข้อสังเกตว่าในหลายๆ ครั้งที่มีแฟนเพจติดต่อสอบถามเข้ามาทั้งหน้าไมค์ และ หลังไมค์กับทางเพจ และ ในทุกๆ ครั้งทางแอดมินของทางเพจจะต้องทำการแจ้งกลับไปว่าต้องขออนุญาตให้ทางฝ่ายขายของภูมิสยามนั้นทำการติดต่อกลับไป ผมคิดว่าเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนอาจจะมีข้อสงสัยในทำนองว่า “ เพราะเหตุใดทางเพจถึงไม่สามารถที่จะแจ้งราคา หรือ ทำการติดต่อพูดคุยกันกับแฟนเพจได้โดยตรงในทันทีขณะนั้น ?” “ เหตุใดส่วนใหญ่จึงต้องรอให้คุยกันทางข้อความส่วนตัว หรือ … Read More

เหตุใดเค้าจึงทำการเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ครับว่าในทางรถไฟ ไม่ว่าจะเป็นขบวนแบบใด จะเป็นรถไฟที่มีความช้า หรือ จะมีความเร็วก็ตาม เหตุใดเค้าจึงทำการเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ในประเด็นๆ นี้กับเพื่อนๆ … Read More

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะ ในการทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์เกร็ดความรู้เล็กๆ ของการทำงานการทดสอบดินสักหนึ่งประการแก่เพื่อนๆ นะครับ ซึ่งแม้ว่าหัวข้อนี้จะเป็นเพียงหัวข้อเล็กๆ แต่ผมก็เชื่อว่าหัวข้อนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ไม่มากก็น้อยนะครับ นั่นก็คือ ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน นั่นเองครับ เพื่อนหลายๆ คนอาจมีความสงสัยว่าเพราะเหตุใดหรือทำไมผมถึงต้องพูดถึงประเด็นนี้หรือครับ ? จริงๆ แล้วประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากๆ ในการที่เราจะต้องใช้ในการทำการทดสอบดินของเราเลยนะครับ เพราะ หากเราเลือกความลึกของหลุมเจาะที่ตื้นจนเกินไป เราก็อาจนำผลจากการทดสอบนี้ไปใช้ในการออกแบบตัวฐานรากไม่ได้เลย เนื่องจากจริงๆ แล้วอาคารของเรานั้นจำเป็นที่จะต้องใช้ขนาดของเสาเข็มที่มีความยาวมากกว่านั้น … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นว่าเหตุใดเหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ ในฐานราก F1 จริงๆ แล้วคือตัว เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) ซึ่งจะเป็นรายละเอียดที่มีความแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ นะครับ ขอเท้าความกันสักเล็กน้อยนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม … Read More

วิธีการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรของผมท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับวิธีในการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากนะครับ กรณีปัญหามีอยู่ว่า หากทำการตอกเสาเข็มในฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น (F2) แล้วเสาเข็มต้นใดต้นหนึ่งเกิดเสียหายไป จะทำการแก้ไขโดยการหมุนฐานรากในระนาบ 90 องศา ได้เลยหรือไม่ครับ ? ผมขอตอบแบบนี้นะครับ คือ ได้ และ ไม่ได้ ครับ งง … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานรากจากงานในอดีตของผมเองให้แก่เพื่อนได้รับทราบกันนะครับ เผื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ต่อจากโพสต์เมื่อวานกันอีกสัก 1 โพสต์นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปปัญหาที่ผมไปพบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต โดยที่ฐานรากยังเป็นฐานรากจม แต่ ปัญหาที่เรามักพบสำหรับกรณีนี้ … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างว่าโครงสร้างที่เรากำลังทำการพิจารณาอยู่นั้นมีคุณลักษณะทางด้าน เสถียรภาพ (STABILITY) และ ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั้นสามารถทำได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE) หรือ ต้องทำโดยวิธีอย่างยาก (INDETERMINATE) แก่เพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ครั้งก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่หัวข้อประเภทของโครงสร้างที่ผมตั้งใจนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ จะเป็นการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM) นั่นเองนะครับ โดยสมมติฐานของการวิเคราะห์คานนั้นเกือบที่จะเหมือนกับโครงสร้างโครงถักก่อนหน้านี้นะครับ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ นะครับ โดยที่ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยนะครับ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D … Read More

เมื่อจะออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างทางลาดเพื่อจะใช้เป็นทางเดินสำหรับรถเข็น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาแชร์และถือโอกาสมาตอบคำถามให้แก่รุ่นน้องของผมท่านหนึ่งที่ในวันนี้เราได้มีการให้ปรึกษากันว่า “เมื่อจะออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างทางลาดเพื่อจะใช้เป็นทางเดินสำหรับรถเข็น น้องท่านนี้เลือกที่จะใช้ระบบคานเป็น T-BEAM โดยให้ปีก (FLANGE) ของเจ้า T-BEAM นั้นเป็นพื้นของทางลาด โดยที่คานนี้วางอยู่บน เสาเดี่ยว (SINGLE COLUMN) และ ฐานรากที่ใช้เสาเข็มเดี่ยว (SINGLE PILE FOUNDATION) โดยที่น้องเลือกที่จะทำการออกแบบให้โครงสร้างเสาและฐานรากนั้นไม่ต้องรับโมเมนต์ที่จะเกิดขึ้นโดยการเลือกไปทำการปลดค่าโมเมนต์ที่หัวเสาออกไป … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 33