ทดสอบหาค่าโมดูลัสการแตกร้าว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมโพสต์เกี่ยวกับค่าหน้าตัดเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดนั้นเราจะต้องหาจากค่าโมดูลัสการแตกร้าว และ มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งถามผมมาว่าจากในรูปที่ผมแนบมาด้วยนั้น (ดูรูปที่ 1) เป็นรูปการทดสอบค่าๆ นี้หรือไม่ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามข้อนี้นะครับ ประการแรกเลยนะครับ คำตอบ คือ ใช่ครับ การทดสอบหาค่าๆ นี้สามารถทำการทดสอบได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ … Read More

สมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับว่าเหตุใดผมถึงบอกกล่าวกับเพื่อนๆ ทุกๆ คนว่าความรู้ในระดับพื้นฐานทุกๆ เรื่องนั้นเป็นเรื่องสำคัญ จากเรื่องเมื่อวานที่ผมโพสต์ไปว่าสมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION ในชิ้นส่วน BAR หรือ ROD จะมีค่าเท่ากับ PL/AE เพื่อนๆ อาจมีความสงสัยว่าเราจะนำสมการพื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ และ ต่อยอดในระดับสูง กรณีใดได้บ้าง … Read More

MODULAR RATIO หรือค่า n

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมมีคำหนึ่งคำจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้เข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนหลายๆ ท่านคงจะรู้จักและอาจทราบความหมายและความสำคัญของคำๆ นี้กันดีอยู่แล้วครับ คำๆ นี้คือ MODULAR RATIO หรือค่า n นั่นเองครับ เราจะพบค่าๆ นี้ในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาทางด้านงานกลศาสตร์และการออกแบบ เช่น กลศาสตร์ของวัสดุ การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบโครงสร้างเหล็ก … Read More

ประเภทของแรงเค้น

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More

การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน แอดมินเชื่อว่าเพื่อนๆ คงจะรู้จักและคุ้นเคยกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปน้อยกันอยู่แล้วนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมากกันบ้างนะครับ (ดูรูปประกอบนะครับ) โดยปกติแล้วเมื่อเราทำการวิเคราะห์โครงสร้างกันโดยทั่วๆ ไปแล้วเราทำการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง เราจะพบว่า ณ ค่าตำแหน่งของการเกิดการเสียรูปตามระนาบในแนวนอน (Xo) จะมีค่าใกล้เคียงกันกับระนาบตามแนวโค้ง (S) เมื่อคานเกิดการเสียรูปเนื่องจากการดัด … Read More

พัฒนาการของวิธีในการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากที่ผ่านมา หนึ่งในหลายๆ คำถามที่ผมได้รับจากเพื่อนๆ คำถามหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบงานโครงสร้าง คสล เลยก็คือ วิธีในการออกแบบงานโครงสร้าง คสล เช่น ในปัจจุบันเรามีวิธีในการออกแบบวิธีการใดบ้าง เราควรใช้วิธีใดในการออกแบบ เป็นต้น วันนี้ผมจึงอยากจะมาเล่าให้ฟังถึงปัญหาข้อนี้นะครับ รวมถึงเล่าพอสังเขปถึงพัฒนาการของวิธีในการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ACI กันครับ … Read More

การคำนวณหาค่าหน่วยแรงดัดในคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินต้องขออภัยที่มาพบกับเพื่อนๆ ช้าไปหน่อยนะครับ เพราะแอดมินเพิ่งประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์มา ยังไงต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ วันนี้แอดมินจะมายก ตย การนำคุณสมบัติต่างๆ ที่ได้พูดถึงไปเมื่อสองวันก่อนหน้านี้ไปใช้ในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงดัดในคานรับแรงดัดกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาดูที่ค่าคุณสมบัติต่างๆ ของหน้าตัดกันก่อนนะครับ จะเห็นได้ว่าหลายๆ ครั้งเมื่อเราสั่งผลิตภัณฑ์จำพวกนี้มาใช้งานจะพบว่าผู้ผลิตจะทำการคำนวณคุณสมบัติเหล่านี้มาให้อยู่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานนั่นเองครับ ต่อมาเรามาคำนวณหาค่าแรงดัดมากที่สุด ซึ่งก็คือ แรงดัดที่กึ่งกลางคาน … Read More

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงหัวข้อสุดท้าย คือ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าว ที่ค้างเพื่อนๆ เอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนให้จบนะครับ ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต – วัสดุมวลรวม ได้แก่ … Read More

การออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานผมได้โพสต์บทความเรื่องโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้กระซิบมาหลังไมค์สอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องนี้พอดีครับว่า “ในการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตล้วนนั้นมีวิธีการออกแบบพอสังเขปได้อย่างไร ?” ผมเลยขอคั่นการโพสต์บทความของผมด้วยการแสดง ตย ของการคำนวณโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันก่อนที่เราจะก้าวไปยังหัวข้อถัดไปนะครับ (รูป A) โดยที่ผมทำการสมมติให้ใช้ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ตย ทรงกระบอกขนาดมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 210 … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ ต่อเนื่องจากเรื่องที่ผมทิ้งท้ายเอาไว้เมื่อวานนะครับ โดยที่เมื่อวานผมได้อธิบายกับเพื่อนๆ ไปแล้วว่าหากทำการออกแบบหน้าตัดเหล็กที่ต้องรับ แรงอัด และ แรงดัด พร้อมๆ กัน และ หน้าตัดเองมีค่าอัตราส่วนระหว่างค่า fa/Fa มีค่าน้อยกว่า 0.15 เราสามารถใช้สมการ INTERACTION ของ AISC … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 33