เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินจะขอมาตอบคำถามเพื่อนวิศวกรออกแบบที่ถามผ่านทางอินบ็อกซ์ในเฟซบุ้คส่วนตัวของแอดมินว่า “ในกรณีที่เราทำการออกแบบคาน คสล เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไปและจะตัดสินใจทำการการรวบเหล็ก (BUNDLED BARS) ในการออกแบบเหล็กเสริมชนิดนี้ เราควรตรวจสอบข้อกำหนดใดบ้าง ?” แอดมินขออนุญาตตอบโดยอิงไปที่เอกสารการสอนโครงสร้าง คสล ที่เขียนโดยท่าน อ ดร มงคล จิรวัชรเดช นะครับ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้เพื่อนๆ … Read More

การคำนวณหาปริมาณเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้งและแบบเปียก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรประมาณราคาท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามทางแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การคำนวณหาปริมาณเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้งและแบบเปียกว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (1) และ สามารถคำนวณได้อย่างไร (2) ? แอดมินขอตอบน้องท่านนี้ดังนี้นะครับ (1) ในการคำนวณปริมาณของเหล็กปลอกเกลียวในเสาเข็มเจาะแบบแห้ง และ แบบเปียกนั้นเหมือนกันนะครับ เพราะ ทั้ง 2 ระบบจะแตกต่างกันที่วิธีในการทำงานเจาะดิน ดังนั้นความยาวของเหล็กปลอกที่จะคำนวณได้โดยทั้ง 2 วิธีการนั้นจะเหมือนกันทุกประการครับ … Read More

หลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่เมื่อวันก่อนแอดมินได้ทำการอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบเพื่อรับแรงในแนวดิ่งและในแนวราบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปได้อย่างไรไปแล้วนะครับ วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) กันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขอย้อนความสักเล็กน้อยให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้ อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

แยกประเภทของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) (รูปที่ 2) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายต่อในหัวข้อที่ (3) หัวข้อสุดท้ายต่อจากเมื่อวานนะครับ … Read More

การกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN นั้นจะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรับกำลังของ BEAM และ SUPPORT ในโครงต้านทานโมเมนต์ดัด (MOMENT FRAME) โดยที่การแปรเปลี่ยนของขนาดของเสานี้จส่งผลต่อแรงภายในที่แตกต่างกันมากก็ต่อเมื่อเราทำการกำหนดให้ BOUNDARY CONDITIONS ของ SUPPORT นั้นมีความแข็งแรงมากๆ (RIGID) … Read More

ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มด้วยวิธี SEISMIC TEST (LOW STRAIN PILE INTEGRITY TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ    ช่วงนี้แอดมินมีงานที่เกี่ยวข้องกับงานเสาเข็มค่อนข้างเยอะครับ วันนี้จึงคิดว่าจะนำเรื่องการทดสอบเสาเข็มประเภทต่างๆ มาเล่าให้เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ   โดยวันนี้จะขอเริ่มต้นที่การตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มด้วยวิธี SEISMIC TEST (LOW STRAIN PILE INTEGRITY TEST) กันนะครับ วิธีการทดสอบนี้สามารถทำการทดสอบได้ทั้งเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (PC PILE) และ … Read More

ชิ้นส่วน BOUNDARY ELEMENT เพิ่ม STIFFNESS ให้แก่ตัวผนังรับแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ เคยสังเกตและสงสัยกันมั้ยครับว่าเวลาที่เราอ่านแบบวิศวกรรมโครงสร้างของผนังรับแรงเฉือนในโครงสร้างอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้นขึ้นไป เหตุใดบางครั้งในผนังรับแรงเฉือนนั้นๆ ถึงมีลักษณะรูปร่างที่แปลกออกไป คือ จะเหมือนมี ELEMENT ที่ทำหน้าที่คล้ายๆ โครงสร้างเสาอยู่บริเวณขอบนอกสุดของผนังรับแรงเฉือนเพิ่มเติมขึ้นมา ซึ่งโดยมากในอาคารที่มีความสูงไม่มากมักจะไม่มี วันนี้ผมจะมาแชรืความรุ้เรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ      ดูรูปที่ 1 ประกอบนะครับ … Read More

การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้เนื้อหาที่ผมตั้งใจที่จะนำมาแชร์กับเพื่อนๆ คือ การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS) นะครับ  ในการที่เราจะทำการออกแบบอาคารสูงได้นั้น พื้นฐานหนึ่งที่เราต้องถือว่ามีความสำคัญมากประการหนึ่งที่ผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องมีความรู้และความเข้าใจ คือ การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้าง (LATERAL LOAD) ที่กระทำกับตัวโครงสร้างอาคารนะครับ โดยที่จริงๆ แล้วแรงกระทำทางด้านข้างที่กระทำกับอาคารทั้งหมดนั้นล้วนแล้วแต่เกิดจากแรงพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD) … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ       วันนี้มีคำถามมาจากเพื่อนๆ ของเราท่านหนึ่งได้ฝากคำถามมาว่า “ไม่ทราบว่าในการออกแบบและใช้งานโครงสร้างเหล็กเหตุใดจึงมีความนิยมที่จะใช้โครงสร้าง เสา ที่ทำขึ้นจากหน้าตัดรูปทรง … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน    วันนี้ผมนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ และ ถึงแม้ว่าประเด็นๆ นี้จะเป็นแค่เกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ แต่ผมก็เชื่อเหลือเกินครับว่าเพื่อนๆ หลายๆ ท่านเองคงจะเคยถกเถียงกันอย่างแน่นอน นั่นก็คือ “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” นั่นเองนะครับ เนื่องจากว่าเมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น … Read More

1 23 24 25 26 27 28 29 33