ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) by ภูมิสยามฯ ภูมิความรู้

ทำไมเสาเข็มถึงต้องเกี่ยวข้องกับความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) by ภูมิสยามฯ ภูมิความรู้ ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ … Read More

ระดับของหัวเสาเข็ม ที่ควรใช้เพื่อจะทำการตรวจสอบระยะการหนีศูนย์ หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า PILE DEVIATE by ภูมิสยาม… ภูมิความรู้

ระดับของหัวเสาเข็ม ที่ควรใช้เพื่อจะทำการตรวจสอบระยะการหนีศูนย์ หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า PILE DEVIATE by ภูมิสยาม… ภูมิความรู้ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง BORING LOG กันสัก 1 อาทิตย์นะครับเพราะว่าผมเพิ่งไปประสบพบเจอเข้ากับเหตุการณ์ๆ หนึ่งโดยบังเอิญและคิดว่าน่าจะยังมีเพื่อนๆ อีกหลายๆ คนที่อาจยังไม่ทราบข้อเท็จจริงประการนี้ จึงตัดสินใจที่จะนำเอาประเด็นๆ นี้มาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ … Read More

การเลือกใช้งานหน้าตัดของเสาเข็มที่เหมาะสมกับสภาพของชั้นดิน

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีความน่าสนใจประการหนึ่งนั่นก็คือ ผู้ออกแบบมีวิธีอย่างไรในการเลือกใช้งานเสาเข็มแต่ละประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความเชื่อว่า ในการเลือกชนิดหน้าตัดของเสาเข็มนั้นผู้ออกแบบจะทำการเลือกหน้าตัดของเสาเข็มให้เป็นหน้าตัดชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งก็ได้ ซึ่งถือว่าความคิดนี้ไม่ถูกต้องนัก เพราะ หากเพื่อนๆ ลองคิดตามหลักการทางด้านวิศวกรรมและหลักทางด้านความเป็นจริงดูก็จะพบว่า เสาเข็มแต่ละหน้าตัดนั้นจะมีลักษณะและองค์ประกอบที่มีความแตกต่างกันค่อนข้างที่จะมาก เช่น … Read More

ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ขั้นตอนในการเจาะสำรวจดิน

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG  เนื่องจากวันนี้เป็นวันที่ 2 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงต้นๆ ของการโพสต์ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาเริ่มต้นอธิบายถึงขั้นตอนในการเจาะสำรวจดินให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ ในการทดสอบคุณสมบัติของชั้นดินนั้นวิศวกรผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องทำการกำหนดรายละเอียดของการสำรวจดินอย่างชัดเจนว่ามีรายละเอียดเป็นเช่นไร เช่น จะทำการเจาะทั้งหมดกี่หลุม จะกำหนดให้ระยะห่างระหว่างหลุมเจาะนั้นเป็นเท่าใด จะทำการเจาะสำรวจที่ตำแหน่งใด จะใช้เครื่องมือใดในการเก็บตัวอย่างของดินบ้าง จะทำการเจาะและเก็บตัวอย่างดินที่ระดับของความลึกสูงสุดเท่าใด จะทำการทดสอบคุณสมบัติใดของดินบ้าง เป็นต้น … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) วันนี้ผมมีข้อพึงระวังเล็กๆ น้อยๆ ในการทำงานโครงสร้าง คอร ที่ดูเหมือนน่าที่จะสามารถทำได้โดยง่ายแต่ก็จะเห็นอยู่บ่อยๆ ว่าพวกเราก็มักจะทำผิดพลาดกันอยู่เป็นประจำเลย สิ่งนั้นก็คือข้อผิดผิดพลาดเวลาที่เราทำการเทพื้นบันได คสล เรามักจะทำการเทหรือกระทุ้งคอนกรีตบริเวณรอยต่อระหว่างโครงสร้างพื้น คอร และ ตัวโครงสร้างบันไดไม่ดีเท่าที่ควร … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

 การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) เนื่องจากหลายๆ วันที่ผ่านมาผมเห็นมีการพูดคุยและถกเถียงกันถึงประเด็น การเปรียบเทียบงานก่อสร้างโครงสร้างด้วย ระบบโครงสร้างหล่อในที่ (CAST IN PLACE STRUCTURAL SYSTEM) กับ ระบบโครงสร้างสำเร็จรูป (PRE-CAST STRUCTURAL SYSTEM) … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ ถ้าเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการทำงานคอนกรีตในโครงการก่อสร้างอาคารแห่งหนึ่ง เมื่อทำการเทคอนกรีตในชิ้นส่วนใดชิ้นส่วนหนึ่งในอาคาร และ ทำการสุ่มเก็บ ตย ก้อนคอนกรีตไปทำการทดสอบดูก็บังเอิญพบว่า … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) หน้าที่เป็นผู้ควบคุมการทำงานคอนกรีตในโครงการก่อสร้างอาคารแห่งหนึ่ง เมื่อทำการเทคอนกรีตในชิ้นส่วนใดชิ้นส่วนหนึ่งในอาคาร และ ทำการสุ่มเก็บ ตย ก้อนคอนกรีตไปทำการทดสอบดูก็บังเอิญพบว่า ค่ากำลังอัดประลัยของก้อน ตย คอนกรีตที่ทำการทดสอบนั้นออกมามีค่าที่ต่ำมากจนตกเกณฑ์มาตรฐานไป ซึ่งคำถามก็คือ เพื่อนๆ จะมีวิธีการในการปฏิบัติเช่นใดเมื่อต้องประสบและพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้ครับ … Read More

ตัวอย่างข้อสอบเกี่ยวกับแรงปฏิกิริยาในแนวดิ่ง วิชา THEORY OF STRUCTURES

สวัสดีครับ หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่าข้อที่ 46 แรงปฏิกิริยาในแนวดิ่งที่จุด E ของโครงสร้างดังรูปมีค่าเท่ากับเท่าใด เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ ให้เราพยายามมองให้ออกก่อนว่า ชิ้นส่วน หรือ ลักษณะของจุดรองรับ ในโครงสร้างจริงๆ แล้วเป็นอย่างไร … Read More

โบว์เค้า (BLOW COUNT)

โบว์เค้า (BLOW COUNT) เห็นช่างตอกเสาเข็ม ขีดเส้นบนเสาเข็มเพื่ออะไรครับ ? ช่างทำการนับโบว์เค้าครับ BLOW COUNT ที่มาของการนับ การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 33