ระยะห่างระหว่างแผ่นเหล็กกับโครงสร้างฐานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เพื่อนๆ อาจจะสงสัยว่าเพราะเหตุใดช่วงนี้ผมมักจะพูดถึงเรื่องราวต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเยอะนิสนึง นั่นเป็นเพราะชุดคำถามที่ผมได้นำเอามาโพสต์ในช่วงนี้จะมาจากการตั้งคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซี่งผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะมาทยอยตอบให้ ดังนั้นผมเชื่อว่าเรื่องราวในวันนี้น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อน้องท่านนี้และเพื่อนๆ ทุกคนด้วยนั่นก็คือ “หนูสังเกตเห็นว่าหลสายๆ ครั้งที่บริเวณใต้แผ่นเหล็กหรือ BASE PLATE … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง – โครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้พูดถึงเรื่องโครงสร้างๆ หนึ่งในการโพสต์หลายๆ ครั้งของผม ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมานั้นตัวของผมเองก็ไม่เคยมีโอกาสที่จะได้ทำการขยายความและอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างๆ นี้โดยละเอียดสักที ผมเลยอยากจะขอใช้พื้นที่ในการโพสต์ประจำทุกๆ วันพุธแบบนี้ในการพูดถึงเรื่องของเจ้าโครงสร้างประเภทนี้นั่นก็คือ โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

ผลจากการกำหนดให้ใช้ความยาว ของโครงสร้างเสาเข็มที่ไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนนั้นผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งก็พบว่าได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ แฟนเพจไม่น้อยเลยทีเดียวและใต้โพสต์ในวันเดียวกันนั้นก็มีรุ่นน้องวิศวกรของผมเองได้คอมเม้นต์สอบถามมาโดยที่มีใจความของคำถามว่า “สำหรับกรณีของการใช้โครงสร้างเสาเข็มเล็กในฐานรากที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มใหญ่จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรดีครับ เช่น กรณีที่โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 7 ต้น จะต้องทำการคำนวณหาน้ำหนักบรรทุกที่จะถ่ายลงมาที่โครงสร้างเสาเข็มต่อต้นใหม่ทั้งหมดใช่หรือไม่ครับ … Read More

จุดต่อที่ถ่ายแรงดัด และจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องของจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดด้วยและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัดมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและตามที่ผมได้เริ่มต้นอธิบายไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า โครงสร้างเหล็กรูปพรรณของเรานั้นจะมีจุดต่อภายในโครงสร้างเป็นแบบใดแบบหนึ่งหรืออาจจะมีทั้ง 3 แบบข้างต้นก็มีความเป็นไปได้ สำคัญอยู่ที่ผู้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างจะเป็นผู้กำหนดลงไปในแบบวิศวกรรมโครงสร้างและเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้เริ่มต้นทำการพูดถึงจุดต่อที่จะถ่ายแค่แรงเฉือนเพียงเท่านั้นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจะขอทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับจุดต่อที่จะถ่ายแรงดัด หรือ MOMENT CONNECTION … Read More

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณสำเร็จรูปแบบ PORTAL FRAME ที่มีการใช้งานอยู่ในห้างสรรพสินค้าทั่วๆ ไป … Read More

การจำแนกประเภทของโครงสร้างราวกันตก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้าง A B C และ D ที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

สบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างประเภทรับแรงดึงเท่านั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสองถึงสามช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคาที่ทำหน้าที่ในการป้องกันลมฝนซึ่งจะอยู่ในบริเวณส่วนด้านหลังของอาคารให้แก่เพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งในการโพสต์ดังกล่าวนั้นผมจะเน้นหนักไปที่โครงสร้างซึ่งมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดัดเป็นหลัก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาหยิบยกนำเอากรณีของการออกแบบโครงสร้างซึ่งจะมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดึงเป็นหลักบ้าง ซึ่งจะได้แก่โครงสร้างประเภทใดกัน วันนี้เราจะมาติดตามรับชมไปพร้อมๆ กันเลยก็แล้วกันนะครับ โครงสร้างที่ว่านี้ก็จะได้แก่โครงสร้างที่อาศัยชิ้นส่วนประเภทที่รับเฉพาะแค่เพียงแรงดึงเท่านั้นหรือ TENSION ONLY STRUCTURES ซึ่งก็อาจจะได้แก่ … Read More

แผ่นยางรองคอสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งน้องท่านนี้กำลังเรียนอยู่ในระดับปริญญาตรีของสาขาวิศวกรรมโยธาในมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง โดยที่น้องได้ฝากคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของคำถามดังต่อไปนี้ครับ “ทำไมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเสาตอม่อกับคาน คอร เหมือนในรูปๆ นี้จึงมักที่จะมีการทำเป็นช่องว่างเอาไว้คะ เหมือนเอาอะไรมาหนุนเอาไว้ ไม่ทราบว่าจุดประสงค์นั้นเพื่อทำให้จุดรองรับนี้เป็นแบบ ROLLER หรือเปล่าคะ ? และเหตุใดเค้าจึงต้องยกขึ้นนิดนึงด้วยคะ … Read More

เสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งกับเพื่อนๆ เอาไว้ในโพสต์ของเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างของกรณีของการก่อสร้างต่อเติมโครงสร้างที่เรานั้นทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารนั้นมีรายละเอียดเป็นเช่นใดและมีระดับของความแข็งแรงมากหรือน้อยเพียงใด ทั้งนี้ก็เพื่อเราจะได้สามารถสามารถนำเอาโครงสร้างใหม่ของเรานั้นไปฝากไว้กับโครงสร้างเดิมได้เอามาฝากแก่เพื่อนๆทุกๆ คนนะครับ หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปตัวอย่างในวันนี้ก็จะเห็นได้ว่าส่วนของหลังคานั้นจะถูกก่อสร้างขึ้นโดยการติดตั้งอยู่โดยที่จะยื่นตัวออกมาจากอาคารเดิม ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าน้ำหนักของโครงสร้างหลังคายื่นส่วนใหม่นั้นก็จะต้องถูกนำเอาไปฝากเอาไว้กับโครงสร้างส่วนเดิมโดยตรงนั่นเอง ซึ่งสาเหตุที่ผมได้แจ้งไปว่าในการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างตามแบบๆ นี้เราควรที่จะต้องทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารของเรานั้นจะมีรายละเอียดเป็นแบบใด … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 33