รายการคำนวณอธิบายว่าเมื่อใดที่จะต้องนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้เข้าใจถึงผลของรูปทรงแบบที่มีความสมมาตรและไม่มีความสมมาตรของตัวโครงสร้างฐานรากแบบ ON GROUND ที่มีต่อค่าหน่วยแรงใต้ฐานรากว่าเป็นเช่นใด ซึ่งผลก็ค่อนข้างดีและได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนเลย ซึ่งส่วนใหญ่อยากที่จะได้เห็นรายการคำนวณประกอบการอธิบายด้วย ในวันนี้ผมจึงตัดสินใจเขียน … Read More

ตอบปัญหาการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดโดยพิจารณาจากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มในการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินที่อยู่ข้างล่างและโครงสร้างเสาเข็มนั้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 300 MM ทั้งนี้ผมจะขอสมมติว่าในขั้นตอนการคำนวณนี้เป็นเพียงขั้นตอนในการคำนวณออกแบบเริ่มแรกซึ่งยังไม่ได้มีการคำนวณหาระยะความหนาของฐานรากออกมา หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากนี้โดยที่ผมจะอาศัยสมมติฐานว่าฐานรากของผมนั้นเป็นแบบ  … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามที่ได้ถูกสอบถามเข้ามาโดยน้องวิศวกรท่านหนึ่งผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเองว่า “ผมเคยอ่านบทความที่ผมเคยเขียนลงในเพจว่า เราควรที่จะกำหนดให้ใช้ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มให้มีระยะที่ไม่น้อยกว่า 2.5 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็มเพื่อมิให้เสาเข็มนั้นเกิดแรงเค้นซ้อนทับ ซึ่งผมสงสัยว่าแล้วมีระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดกำหนดหรือระบุเอาไว้มาตรฐานใดๆ บ้างหรือไม่ครับ ?”   คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีคำถามหนึ่งเลยนะเพราะว่าคนส่วนใหญ่จะทราบดีอยู่แล้วว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดนั้นเป็นเท่าใดแต่กลับไม่ค่อยมีคนทราบว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นเป็นเท่าใดกันแน่ … Read More

เหตุโครงสร้างกันสาดนั้นเกิดการวิบัติ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   สืบเนื่องจากที่เมื่อในช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ได้เกิดกรณีของการที่โครงสร้างกันสาดแบบยื่นคอนกรีตเสริมเหล็กได้เกิดการวิบัติลงมาและผมได้นำเอาข่าวมาเล่าสู่กันฟัง ก็มีเพื่อนๆ ของพวกเราหลายๆ คนได้ออกความคิดเห็นต่างๆ มากมายเข้ามาเกี่ยวกับกรณีๆ นี้ ซึ่งผมคิดว่าเป็นการดีนะเพราะเมื่อเกิดเหตุแบบนี้ขึ้นสิ่งที่พวกเราไม่ควรที่จะทำก็คือ การมุ่งแต่จะหาผู้กระทำความผิดเพราะสุดท้ายแล้วผมคิดว่าคงไม่มีใครตั้งใจที่อยากจะทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้นหรอก ดังนั้นสิ่งที่ควรจะทำจริงๆ คือ มุ่งหาสาเหตุของปัญหาที่เกดขึ้นจริงๆ … Read More

อุโมงค์ทางลอดนั้นเกิดการวิบัติในขณะที่กำลังทำการก่อสร้างอยู่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อช่วงประมาณสัปดาห์ที่แล้วได้เกิดเหตุโครงสร้างนั้นเกิดการวิบัติขึ้นอีกแล้วเพียงแต่ครั้งนี้การวิบัติของโครงสร้างนั้นเกิดขึ้นในขณะที่กำลังดำเนินการก่อสร้างเลย สำหรับโครงสร้างที่ได้เกิดการวิบัติในครั้งนี้เป็นโครงสร้างอุโมงค์ทางลอดของรถไฟ ซึ่งอุโมงค์ที่เกิดเหตุดังกล่าวนี้มีไว้เพื่อให้รถยนต์ใช้ลอดใต้รางรถไฟทางคู่ โดยที่อุโมงค์นี้ตั้งอยู่ภายในเขตจังหวัดนครราชสีมานะครับ   จากข่าวเท่าที่ผมทราบมาคือ ในขณะที่เกิดเหตุนั้นเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ทุ่ม พบว่าในขณะที่รถคอนกรีตผสมเสร็จกำลังค่อยๆ ลำเลียงนำเอาคอนกรีตผสมเสร็จเข้ามาเทที่หน้างานนั้นปรากฏว่าได้เกิดเหตุนั่งร้านชั่วคราวที่ทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักคอนกรีตโครงสร้างนั้นไม่แข็งแรงมากพอที่จะสามารถรับน้ำหนักได้ จึงทำให้นั่งร้านชั่วครานั้นเกิดการพังถล่มลงมา … Read More

ช่องระบายอากาศปิดช่องว่างระหว่างโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพูดนอกเรื่องเกี่ยวกับวิศวกรรมฐานรากงานดินและเสาเข็มออกไปสักหน่อยเพราะสืบเนื่องจากเมื่อวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมานั้น ผมได้ทำการโพสต์เพื่อที่จะทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ แฟนเพจว่า เราควรที่จะเลือกวิธีในการทำงานการปิดช่องว่างระหว่างโครงสร้างที่ทำหน้าที่ในการพื้นชั้นล่างกับดินเดิมให้เป็นไปในรูปแบบใดดี ถึงจะเป็นการประหยัด มีความคงทน ไม่ต้องพบเจอกับความยุ่งยากในขั้นตอนของการดูแลรักษาและจะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในการใช้งาน ซึ่งคำตอบที่ผมได้ตอบเอาไว้ก็คือ ตัวเลือกในข้อ C … Read More

การตรวจสอบค่าการเสียรูปในโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ต่อเนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ซึ่งผมได้ทำการให้คำอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างให้ไปเป็นที่เรียบร้อย ปรากฏว่าน้องท่านเดิมนี้ก็สอบถามผมเข้ามาเพิ่มเติมว่า เพราะเหตุใดเวลาที่ทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก เราจึงจำเป็นต้องทำการตรวจสอบค่าการเสียรูปด้วยแล้วเหตุใดเวลาที่ทำการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เราจึงไม่จำเป็นต้องทำการตรวจสอบค่าการเสียรูป ? ตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามๆ นี้ผมก็ตกใจพอสมควรเพราะผมมีความคิดเห็นส่วนตัวว่า น้องท่านนี้รวมถึงเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

หน่วยแรงเฉือนตามแนวยาวในโครงสร้างคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเหล็กรูป C-LIGHT LIP อยู่คู่หนึ่งและเมื่อได้ทำการออกแบบให้โครงสร้างคานนี้มีสมรรถนะที่ดีทั้งในสภาวะกำลังและสภาวะการใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผมจึงทำการคำนวณค่า MAXIMUM … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาเหตุผลหนึ่งของการอาศัยวิธีการจำลองให้โครงสร้างเสาเข็มโดยอาศัยหลักการของ SOIL SPRING นั่นก็คือ ทฤษฎีของคานที่วางอยู่บนฐานรากที่มีความยืดหยุ่น หรือ ในภาษาอังกฤษจะมีชื่อเรียกว่า THEORY OF … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีเพื่อนที่เป็นแฟนเพจท่านหนึ่งได้สอบถามเข้ามาในโพสต์เก่าโพสต์หนึ่งที่ผมเคยได้เขียนเอาไว้เป็นบทความที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การวิเคราะห์โครงสร้างเสาเข็มโดยใช้ SOIL SPRING โดยที่รายละเอียดของคำถามนั้นมีใจความดังต่อไปนี้ครับ … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 33