ความรู้และตัวอย่าง เรื่องรั้วป้องกันโดยรอบสถานที่ก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “วิศวกรรมความปลอดภัย” หรือ “SAFETY ENGINEERING” ให้กับน้องผู้หญิงท่านหนึ่งรวมถึงเพื่อนๆ ทุกคนๆ ไป ปรากฏว่าน้องท่านนี้ก็น่าที่จะได้รับข้อมูลดีๆ จึงฝากคำขอบคุณเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมพร้อมกับมีคำถามพ่วงท้ายมาด้วยเล็กน้อยว่า   “หากหนูอยากจะทราบถึงเรื่อง … Read More

โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ได้ถูกนำไปใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุม ของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณเรื่องเหล็กเสริมพิเศษในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิดเอามาฝากแก่เพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์ก็แล้วกันและเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาเริ่มต้นดูกรณีของการเสริมเหล็กในครั้งนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ผมมีพื้นๆ หนึ่งที่มีการเสริมเหล็กใน 1 ชั้น ซึ่งเหล็กบนจะเท่ากับ DB12mm@150mm ส่วนเหล็กล่างจะเท่ากับ DB12mm@200mm … Read More

การเสริมเหล็กเสริมพิเศษ ในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอารูปที่แสดงถึงขั้นตอนของการเตรียมการผูกเหล็กเสริมในบริเวณขอบและมุมของพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ที่จะมีช่องเปิด ซึ่งผมได้ทำการถ่ายรูปมาจากหน้างานที่มีผมเป็นผู้ควบคุมการทำงาน โดยที่ผมจะต้องขอหมายเหตุให้เพื่อนๆ ทราบเอาไว้ก่อนว่า รูปๆ นี้ยังไม่ใช่รูปการทำงานที่เสร็จสมบูรณ์พร้อมสำหรับการเทคอนกรีตนะครับ ทั้งนี้สาเหตุที่เรามีความจำเป็นที่จะต้องทำการใส่รายละเอียดของเหล็กเสริมในบริเวณขอบและมุมของแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่เหมือนเช่นในรูปก็เป็นเพราะว่า เมื่อในแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ของเรานั้นไม่ได้แผ่ออกไปในลักษณะเป็นผืนเดียวกันเพราะจะมีช่องเปิดเกิดขึ้น ลักษณะดังกล่าวนี้จะส่งผลโดยตรงต่อเส้นทางของแรงในแผ่นพื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า LOAD PATH … Read More

การก่อสร้างโครงสร้างโครงข้อหมุนให้มีความแข็งแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างโครงข้อหมุนทั้ง 3 รูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ หากทั้งชิ้นส่วนที่อยู่ในคอร์ดบนหรือ TOP … Read More

วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More

ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานราก บนชั้นดินอ่อนและความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกันกับปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนพื้นที่ๆ มีชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อนนั่นและเพราะเหตุใดการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินนั้นจึงมีความสำคัญมาก นั่นก็คือ การวิบัติของโครงสร้างเนื่องจากชั้นดินนั้นเป็นดินอ่อน เอามาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านเพื่อเป็นวิทยาทานกันนะครับ จากรูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

การเลือกขนาดความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในการโพสต์เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่องของการเลือกขนาดของความหนาของ เหล็กแผ่น หรือ STEEL PLATE ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบและรับชมกันต่ออีกสักโพสต์หนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วหากว่าผมจำไม่ผิด … Read More

การเลือกขนาดของความหนาของเหล็กแผ่นที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสออกไปทำการตรวจงานการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและได้มีการพูดคุยกับวิศวกรที่หน้างาน ซึ่งทางวิศวกรท่านนี้ได้สอบถามคำถามๆ หนึ่งซึ่งผมคิดว่ามีความน่าสนใจนั่นก็คือ   “เพราะเหตุใดผมจึงได้เลือกทำการออกแบบและกำหนดให้มีการใช้เหล็กแผ่นที่ค่อนข้างจะมีความหนามากสักหน่อยในการก่อสร้างโครงสร้างส่วนที่เป็น CANOPY บริเวณภายนอกของอาคาร โดยจะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเหล็กแผ่นส่วนนี้จะมีขนาดของความหนามากกว่าตรงส่วนอื่นๆ ค่อนข้างมากเลยครับ ?”   ก่อนอื่นผมต้องขอชมเชยวิศวกรท่านนี้นะว่าคำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีและมีความน่าสนใจมาก … Read More

การคำนวณหาค่า Equivalent Force Matrix และ Fixed End Forces Matrix ของโครงสร้าง Rigid Frame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 33