การเลือกระบบโครงสร้างที่มีผลตอบสนองตรงตามที่ต้องการ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ สามารถที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้าง PORTAL FRAME ดังรูปได้ภายในระยะเวลาในการทำงานก่อสร้างที่ไม่ได้ถูกจำกัดอะไรมากมายนัก อีกทั้งการก่อสร้างตัวโครงสร้างคานในรูป … Read More

ค่าความแข็งเกร็งต่อการเสียรูปทางด้านข้างของโครงสร้างPortalFrame

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากการที่เมื่อในหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ ผมได้นำเอารูปๆ นี้มาทำการตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์ไป โดยที่ในการโพสต์ครั้งก่อนหน้านั้นผมได้ถามไปว่า หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าของEcและEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากโครงสร้างๆ หนึ่งของผมต้องทำหน้าที่ในการรับกำลังอัดแบบเพิ่มค่าที่มีอัตราการคงค้างของน้ำหนักบรรทุกที่สูงมากๆ เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะต่อเนื่องและยาวนาน หากผมทราบได้จากการนำเอาตัวอย่างของคอนกรีตชุดนี้ไปทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ผมก็จะพบว่าโครงสร้างๆ นี้จะมีค่ากำลัดอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ … Read More

การจำแนกประเภทของโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างดังรูป หากผมทำการกำหนดให้ค่าของ B คือ “ค่าจำนวนของชิ้นส่วนโครงสร้าง” ส่วนค่าของ … Read More

วิธีและขั้นตอนของการทดสอบการรั่วซึมของน้ำที่บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เวลาที่เราทำการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในกรณีที่ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณทั่วๆ ไปของอาคาร เราจะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ ขึ้นเสมอและเมื่อวันเวลาผ่านไป รอยร้าวเหล่านั้นจะไม่เกิดการพัฒนาตัวเองจนเป็นรอยร้าวที่มีขนาดใหญ่โตมากยิ่งขึ้นซึ่งก็ถือได้ว่ากรณีนี้เป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้วนะครับ   หากพูดถึงกรณีของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ๆ ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณที่เป็นชั้นดาดฟ้าหรือบริเวณพื้นที่แบบเปิด ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ๆ ต้องสัมผัสกับแสงแดดและอากาศภายนอกอยู่ตลอดอายุการใช้งานของมัน เราก็จะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ เหมือนกันกับกรณีแรกแต่เมื่อวันเวลาผ่านไป … Read More

ความสำคัญของขั้นตอนการทดสอบคุณสมบัติของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่เพื่อนแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวว่า   “จากที่อ่านบทความของผมมาโดยตลอดผมจะสังเกตได้ว่าคุณดีนพูดอยู่บ่อยๆ ว่าควรที่จะทำการเจาะสำรวจดินในทุกๆ โครงการก่อสร้าง เพื่อที่เราจะได้ทราบค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดิน คำถามก็คือ หากเราเป็นผู้ออกแบบหรือผู้รับเหมาที่จะต้องทำงานให้แก่เจ้าของบ้านที่ว่าจ้างเราแต่ทางเจ้าของบ้านไม่มีความเข้าใจว่าขั้นตอนในการทดสอบดินนั้นมีความสำคัญอย่างไร เราควรที่จะทำอย่างไรดีครับ?” … Read More

ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปเกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงที่ผมได้พักผ่อนอยู่บ้านจากสถานการณ์ไวรัสโควิด 19 ที่ผ่านมานี้ผมได้มีการพูดคุยสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กันกับรุ่นน้องวิศวกรเครื่องกลท่านหนึ่งที่เพิ่งจบการศึกษามาได้ไม่นาน พวกเราก็ได้พูดคุยกันในหลายๆ ประเด็นเลย ซึ่งก็น่าจะเป็นการดีและมีประโยชน์ต่อการทำงานของน้องเค้าในอนาคตแต่แล้วก็มีคำถามๆ หนึ่งที่น้องเค้าได้สอบถามผมมา ซึ่งในตอนแรกผมก็นึกตลกในคำถามๆ นี้แต่พอคิดไปคิดมาก็เลยเข้าใจได้ว่า สาเหตุที่น้องท่านนี้ถามคำถามข้อนี้มาเพราะน้องเค้าเพิ่งจะเริ่มต้นอาชีพการเป็นวิศวกรมาได้ไม่นานเท่าใดนัก … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   หลังจากที่ผมได้พูดถึงและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยว่าวันนี้ผมก็จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงและอธิบายต่อถึงวิธีในการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อให้จบในส่วนเนื้อหาการโพสต์ส่วนนี้นะครับ ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังจำกันได้ ผมเคยได้อธิบายไปเมื่อสองสัปดาห์ก่อนแล้วว่าเราอาจจะเรียกค่าของการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยวว่าเป็น “การทรุดตัวในตอนเริ่มแรก” หรือ “INITIAL SETTLEMENT” หรือก็มีอีกชื่อหนึ่งซึ่งเรานิยมเรียกกันนั่นก็คือ … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Local Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการยกตัวอย่างถึงการนำเอาวิธีในการวิเคราะห์ความสามารถในการรับแรงด้านข้างประลัยตามทฤษฏีของ MEYERHOF นี้มาให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับชมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ ซึ่งก็น่าจะเป็นโพสต์สุดท้ายของหัวข้อๆ นี้สำหรับการโพสต์ในครั้งนี้ ต่อไปหากมีเพื่อนท่านใดที่มีความสนใจอีกก็อยากให้ทำการสอบถามเข้ามาอีกที ผมก็จะค่อยนำเอาเรื่องๆ นี้มาทำการอธิบายเพิ่มเติมให้เพื่อนๆ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 33