วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่ค่าการโก่งตัวนั้นเกิดขึ้นสูงที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากในสัปดาห์นี้น่าจะเป็นช่วงของการสอบไฟนอลของน้องๆ นักศึกษาหลายๆ คน ผมจึงอยากจะขอแทรกการโพสต์ในวันนี้ด้วยการตอบคำถามของน้องนักศึกษาท่านหนึ่งที่ตอนนี้กำลังอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบในวิชา ทฤษฎีโครงสร้าง โดยที่ผมได้ทำการสรุปใจความของปัญหาของน้องท่านนี้ได้ดังนี้ครับ “ตอนนี้กำลังเจอกับปัญหาว่า หากผมมีความจำเป็นที่จะต้องทำการใช้วิธีการจำพวก GRAPHICAL METHOD เช่น วิธีการ CONJUGATE BEAM METHOD หรือวิธีการ MOMENT AREA … Read More

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการคำนวณโดยละเอียด ซึ่งแน่นอนว่าวิธีการดังกล่าวนี้ย่อมที่จะทำให้เกิดความประหยัดที่มากกว่าวิธีการข้างต้นนี้ค่อนข้างที่จะมากเลยและก็แน่นอนว่า วิธีการนี้ก็ย่อมมีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับงานก่อสร้างที่มีการควบคุมการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเสาเข็มเป็นอย่างดีนั่นเอง อีกครั้งหนึ่งก็แล้วกันนั่นก็คือ สำหรับการวิเคราะห์หาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มเมื่อเสาเข็มนั้นถูกวางตัวอยู่ในชั้นดินเหนียวนั้นจะต้องมีข้อแม้ที่เป็นไปตามที่ผมได้อธิบายไปก่อนหน้านี้นั่นก็คือ ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มนั้นควรจะต้องมีการวางตัวห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มเอง สำหรับค่า … Read More

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง กำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเนื่องจากกำลังแบกทานเป็นหลักหรือค่า Q(group)(clay)(1) และกำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเนื่องจากกำลังเสียดทานที่ผิวเป็นหลักหรือค่า Q(group)(clay)(2) ตามที่ผมได้ให้คำอรรถาธิบายไปแล้วในเบื้องต้นในการโพสต์ของครั้งที่แล้วเพิ่มเติมกันอีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ สำหรับการวิเคราะห์หาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มเมื่อเสาเข็มนั้นถูกวางตัวอยู่ในชั้นดินเหนียวนั้นจะต้องมีข้อแม้เป็นไปตามที่ผมได้อธิบายไปก่อนหน้านี้นั่นก็คือ ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มนั้นควรจะต้องมีการวางตัวห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มเอง … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ผมยังวนเวียนอยู่กับการตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่อง เสาเข็มที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหรือ BENDING FORCE ร่วมกันกับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งประเด็นล่าสุดที่แฟนเพจท่านนี้ได้ทำการสอบถามเข้ามานั้นก็คือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่จะใช้ เพื่อการคำนวณหาค่าการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่ง ที่มีค่ามากที่สุดในคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายไปว่า สำหรับกรณีที่โครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีจุดรองรับอยู่ที่ปลายของทั้งสองด้าน ค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งสูงสุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DEFLECTION จะเกิดขึ้นที่ตำแหน่งที่ค่ามุมของการหมุนหรือ ANGLE OF ROTATION นั้นมีค่า “น้อยที่สุด” … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในตอนแรกผมมีความตั้งใจว่าในสัปดาห์นี้ผมจะทำการโพสต์เนื้อหาที่มีความเกี่ยวเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES แต่เนื่องจากผมได้รับคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งอยากจะให้ผมทำการอธิบายว่า “หากมีการระบุเอาไว้ว่า เสาเข็มต้านหนึ่งๆ จะต้องมีความสามารถในการรับโมเมนต์ดัดหรือ … Read More

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมงานฐานรากและงานดินนั่นก็คือ โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES นั่นเองนะครับ   จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันมิให้ดินพังนั้นก็ค่อนข้างที่จะตรงไปตรงมานั่นก็คือ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วิธีการตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างเสาเข็ม และวิธีในการกองเก็บที่ถูกต้องที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักท่านหนึ่งได้ไปทำงานการตอกเสาเข็ม คอร ชนิดทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งและไปพบเจอเข้ากับความเสียหายของเสาเข็มก่อนที่จะนำมาใช้ในการตอกจริง พี่ท่านนี้จึงได้ทำการ REJECT เสาเข็มชุดนั้นไปหลายต้นเลย วันนี้ผมจึงได้ขออนุญาตรุ่นพี่ท่านนี้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของความเสียหายของเสาเข็มที่เราอาจจะพบเจอได้ที่หน้างานมาฝากเพื่อนๆ … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีเสาเข็มไมโครไพล์อยู่หนึ่งต้นที่ได้ทำการตอกลงไปในดินเป็นที่เรียบร้อยแล้วและผลจากการคำนวณก็พบว่าเสาเข็มต้นนี้จะมีคุณสมบัติต่างๆ ดังต่อไปนี้   มีกำลังรับแรงใช้งานในแนวดิ่งเนื่องจากแรงฝืดของดินเท่ากับ 25 … Read More

ปัญหาการคำนวณหาระยะในการยกที่จะส่งผลดีที่สุดต่อหน้าตัดของแท่งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ ต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง พื้นฐานการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากปัญหาที่ผมได้ทำการตั้งเป็นคำถามประจำวันเสาร์ที่ผ่านมาซึ่งผมได้ถามเพื่อนๆ ไปว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเคลื่อนย้ายโดยที่ผมจะใช้วิธีการยกแท่งคอนกรีตขนาดความยาวเท่ากับ 20 เมตร ซึ่งมีน้ำหนักเท่ากับ 2 ตัน … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 33